ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระครูวินัยธร (มั่น ภูริทตฺโต)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sasakubo1717 (คุย | ส่วนร่วม)
Sasakubo1717 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1:
'''[[ฐานานุกรม|พระครูวินัยธร]] (มั่น ภูริทตฺโต) '''<ref>[http://www.watchediluangcm.com/watchediluang/historymok2.php ประวัติพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต]. (เว็บไซต์วัดเจดีย์หลวง จังหวัดเชียงใหม่). เรียกข้อมูลเมื่อ 05-04-54</ref> หรือที่นิยมเรียกด้วยความเคารพว่า '''"หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต"'''<ref>[http://www.luangpumun.org/ หลวงปู่มั่น]. เว็บไซต์ญาติธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตตะเถระ. เรียกข้อมูลเมื่อ 11-6-52</ref><ref>[http://www.watpa.com/ หลวงปู่มั่น]. เว็บไซต์วัดป่ากรรมฐาน สายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต. เรียกข้อมูลเมื่อ 11-6-52</ref><ref>[http://www.rachinuthit.ac.th/thamma/info_artists.php?artists=4 ประวัติ :หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ]. เว็บไซต์โรงเรียนสตรีราชินูทิศ. เรียกข้อมูลเมื่อ 11-6-52</ref><ref>[http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9520000055519 ตามรอยธรรม "หลวงปูมั่น" อิ่มบุญ อิ่มใจ ]. เว็บไซต์ ผู้จัดการ Online. เรียกข้อมูลเมื่อ 11-6-52</ref> (20 มกราคม]] พ.ศ. 2413—11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492) เป็นพระภิกษุชาวไทยสายธรรมยุตชื่อดังในประวัติศาสตร์พระกรรมฐานไทย เมื่อท่านเป็นพระภิกษุ ได้ปฏิบัติตนอย่างเคร่งครัดและเผยแผ่พระพุทธศาสนา โดยวางแนวทางในการปฏิบัติสมถะและวิปัสสนาตามหลักธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาพุทธเจ้า แก่ประชาชน ทำให้ท่านมีพระสงฆ์และฆราวาสเป็นลูกศิษย์จำนวนมาก จึงทำให้แนวคำสอนของท่านเป็นที่รู้จักกันดีว่า เป็นคำสอนพระวัดป่า (สายพระอาจารย์มั่น) หลังจากท่านมรณภาพลง ในปี พ.ศ. 2492 ยังคงมีพระสงฆ์ที่เป็นลูกศิษย์ของท่านสืบต่อแนวปฏิบัติของท่านสืบมา โดยลูกศิษย์ของท่านเรียกว่า พระกรรมฐานสายวัดป่า หรือ พระกรรมฐานสายหลวงปู่มั่น ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ท่านได้รับยกย่องจากผู้ศรัทธาให้เป็น '''พระอาจารย์ใหญ่สายวัดป่า''' สืบมาจนปัจจุบัน
== คำสอน ==
{{คำพูด|ดีที่ไม่มีโทษ ดีนั้นชื่อว่าดีเลิศ}}