ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระสังฆราช เจริญ สุวฑฺฒโน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัดที่ 35:
{| class="toccolours" style="text-align: left; background: white; width: 100%; padding: 3px; border: 0px solid #b32424; margin: 0 auto;"
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|''ประมวล ๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|-valign="middle" style="background:white"
|style="width:20%;|
บรรทัดที่ 42:
|<div><br></div>{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๑''</sup>
|<div><br></div>{{Gap|2em}}{{Sq|มนุษย์ ที่ แปลอย่างหนึ่งว่า ผู้มีจิตใจสูง คือ มีความรู้สูง ดังจะเห็นได้ว่าคนเรามีพื้นปัญญาสูงกว่าสัตว์ดิรัจฉานมากมาย สามารถรู้จักเปรียบเทียบในความดี ความชั่ว ความควรทำไม่ควรทำ รู้จักละอาย รู้จักเกรง รู้จักปรับปรุงสร้างสรรค์ที่เรียกว่าวัฒนธรรม อารยธรรม ศาสนา เป็นต้น แสดงว่ามีความดีที่ได้สั่งสมมา โดยเฉพาะปัญญาเป็นรัตนะ ส่องสว่างนำทางแห่งชีวิต ถึงดังนั้นก็ยังมีความมืดที่มากำบังจิตใจให้เห็นผิดเป็นชอบ ความมืดที่สำคัญนั่นก็คือ กิเลสในจิตใจและกรรมเก่าทั้งหลาย}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๒''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|คำว่า ชีวิต มิ ได้มีความหมายเพียงแค่ความเป็นอยู่แห่งร่างกาย แต่หมายถึงความสุข ความทุกข์ ความเจริญ ความเสื่อม ของบุคคลในทางต่างๆ ด้วยบางคนมีปัญหาว่า จะวาดภาพชีวิตของตนอย่างไรในอนาคต หรืออะไรควรจะเป็นจุดมุ่งหมายของชีวิต และจะไปถึงจุดหมายนั้นหรือที่นึกที่วาดภาพไว้นั้นด้วยอะไร ปัญหาที่ถามคลุมไปดังนี้ น่าจะตอบให้ตรงจุดเฉพาะบุคคลได้ยาก เพราะไม่รู้ว่าทางแห่งชีวิตของแต่ละบุคคลตามที่กรรมกำหนดไว้เป็นอย่างไร และถ้าวาดภาพของชีวิตอนาคตไว้เกินวิสัยของตนที่จะพึงถึง แบบที่เรียกว่าสร้างวิมานบนอากาศ ก็จะเกิดความสำเร็จขึ้นมาไม่ได้แน่ หรือแม้วาดภาพชีวิตไว้ในวิสัยที่พึงได้พึงถึง แต่ขาดเหตุที่จะอุปการะให้ไปถึงจุดหมายนั้นก็ยากอีกเหมือนกันที่จะเกิดเป็นความจริงขึ้นมา}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๓''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|เรา เกิดมาด้วยตัณหา ความอยากและกรรมเพื่อสนองตัณหาและกรรมของตนเอง ตัณหาและกรรมจึงเป็นตัวอำนาจหรือผู้สร้างให้เราเกิดมา ใครเล่าเป็นผู้สร้างอำนาจนี้ ตอบได้ว่าคือ ตัวเอง เพราะตนเองเป็นผู้อยากเองและเป็นผู้ทำกรรม ฉะนั้นตนนี้เองแหละเป็นผู้สร้างให้ตนเองเกิดมาอนุมาน ดูตามคำของผู้ตรัสรู้นี้ในกระแสปัจจุบัน สมมติว่าอยากเป็นผู้แทนราษฎร ก็สมัครรับเลือกตั้งและหาเสียง เมื่อชนะคะแนนก็เป็นผู้แทนราษฎร นี่คือความอยากเป็นเหตุให้ทำกรรม คือทำการต่างๆ ตั้งแต่การสมัคร การหาเสียง เป็นต้น ซึ่งเป็นเหตุให้ได้รับผล คือ ได้เป็นผู้แทน}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๔''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ความเปลี่ยนแปลงของชีวิตหรือของโลกเป็นทุกข์ประจำชีวิตหรือประจำโลกไม่เป็นเรื่องแปลกประหลาดอันใด เมื่อจะสรุปกล่าวให้สั้น ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ทั้งสี่นี้ย่อลงเป็นสอง คือความเกิดและความดับ ซึ่งเป็นสิ่งที่สกัดหน้าสกัดหลังของโลก ของชีวิตทุกชีวิตนี่เรียกคติธรรมดา แปลว่า ความเป็นไปตามธรรมดา ความไม่สบายใจทุกๆอย่าง พระพุทธเจ้าทรงชี้ว่าเป็นทุกข์ ทุกคนคงเคยประสบกับสิ่งที่ไม่เป็นที่รัก พลัดพรากจากสิ่งที่เป็นที่รัก ปรารถนาไม่ได้สมหวัง เกิดทุกข์โศกต่างๆ นี่แหละพระพุทธเจ้าตรัสเรียกว่าเป็นทุกข์โลกหรือชีวิต ประกอบด้วยทุกข์ดังกล่าวมาแล้ว ฉะนั้น ทุกข์จึงเป็นความจริงที่โลกหรือทุกชีวิตต้องเผชิญ}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๕''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ชีวิตคนเรา เติบโตขึ้นมาดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยความเมตตากรุณาจากผู้อื่นมาตั้งแต่เบื้องต้น คือ เมตตา กรุณา จากบิดา มารดา ครูบาอาจารย์ ญาติสนิท มิตรสหาย ถ้าไม่ได้รับความเมตตา ก็อาจจะสิ้นชีวิตไปแล้วเพราะถูกทิ้ง เมื่อเราเติบโตมาจากความเมตตากรุณา ก็ควรมีความเมตตากรุณาต่อชีวิตอื่นต่อไป วิธีปลูกความเมตตากรุณา คือ ต้องตั้งใจปรารถนาให้เขาเป็นสุข ตั้งใจปรารถนาให้เขาปราศจากทุกข์ โดยเริ่มจากเมตตาตัวเองก่อน แล้วคิดไปถึงคนใกล้ชิด คนที่เรารัก จะทำให้เกิดความเมตตาได้ง่าย แล้วค่อยๆ คิดไปให้ความเมตตาต่อคนที่ห่างออกไปโดยลำดับ}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๖''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ตนรักชีวิตของตน สะดุ้งกลัวความตายฉันใด สัตว์อื่นก็รักชีวิตตนและสะดุ้งกลัวความตายฉันนั้น ฉะนั้น จึงไม่ควรฆ่าเอง ไม่ควรใช้ให้ผู้อื่นฆ่า อนึ่ง ตนรักสุขเกลียดทุกข์ฉันใด สัตว์อื่นก็รักสุขเกลียดทุกข์ฉันนั้น จึงไม่ควรสร้างความสุขให้ตนเองด้วยการก่อความทุกข์ให้แก่คนอื่น}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๗''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|คติธรรมดาที่ไม่มีใครเกิดมาในโลกนี้ จะหนีไปให้พ้นได้ ก็คือ ความแก่ ความตาย แต่คนโดยมากพากันประมาทเหมือนอย่างว่าไม่แก่ ไม่ตาย น่าที่จะรีบทำความดี แต่ก็ไม่ทำ กลับไปทำความชั่ว ก่อความเดือดร้อนให้แก่กันและกัน ต่างต้องเผชิญทุกข์เพราะกรรมที่ต่างก่อให้แก่กันอีกด้วย ฉะนั้น ก็น่าจะนึกถึงความแก่ ความตายกันบ้าง เพื่อจะได้ลดความมัวเมา และทำความดี}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๘''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|การฆ่าตัวตาย เป็นการแสดงความอับจนพ่ายแพ้หมดหนทางแก้ไข หมดทางออกอย่างอื่น สิ้นหนทางแล้ว เมื่อฆ่าตัวตายก็เป็นการทำลายตัว เมื่อทำลายตัวก็เป็นการทำลายประโยชน์ทุกอย่างที่พึงได้ในชีวิต ในบางกลุ่มบางหมู่เห็นว่าการฆ่าตัวตายในบางกรณีเป็นเกียรติสูง แต่ทางพระพุทธศาสนาแสดงว่าเป็นโมฆกรรม คือกรรมที่เปล่าประโยชน์ เรียกผู้ทำว่า คนเปล่า เท่ากับว่าตายเปล่าๆ ควรจะอยู่ทำอะไรให้เกิดประโยชน์ต่อไปได้ ก็หมดโอกาส}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๙''</sup>
เส้น 69 ⟶ 85:
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๑๐''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|มารดาบิดาเป็นทิศเบื้องหน้า ครูอาจารย์เป็นทิศเบื้องขวา บุตรภรรยาเป็นทิศเบื้องหลัง มิตรสหายเป็นทิศเบื้องซ้าย คนรับใช้หรือผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นทิศเบื้องต่ำ สมณพราหมณ์เป็นทิศเบื้องบน ถ้าทิศทั้งหลายดังกล่าวไม่ดีเสียโดยมาก ก็ยากที่จะให้ใครๆที่อยู่ระหว่างกลางดีอยู่ฝ่ายเดียว}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๑๑''</sup>