ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระสังฆราช เจริญ สุวฑฺฒโน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัดที่ 140:
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๒๑''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|คนที่มุ่งประโยชน์เฉพาะตนเท่านั้น ไม่เกื้อกูลใคร เป็นจำพวกเห็นแก่ตนโดยส่วนเดียว เป็นคนคับแคบ ไม่ประพฤติการเป็นคุณประโยชน์แก่ใคร อาจเจริญด้วยประโยชน์ปัจจุบัน มีทรัพย์เฉพาะตน แต่เป็นคนไม่มีประโยชน์แก่คนอื่นหรือแก่หมู่คณะ เรียกว่าเป็นคนมีความคิดแคบสั้น เพราะหลักของการอยู่ร่วมกัน เมื่อคนอื่นพากันเป็นทุกข์เดือดร้อนจะเป็นสุขอยู่ได้อย่างไร ฉะนั้น คนฉลาดจึงมีความคิดยาวและกว้างออกไป เมื่อตนเองได้ประโยชน์มีความสุข ความเจริญ ก็ทำการที่เป็นประโยชน์แผ่ความสุขให้แก่ผู้อื่น ตามที่เกี่ยวข้องและตามสามารถ อันจะเป็นประโยชน์ในภายหน้า}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๒๒''</sup>
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๒๒''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|โดยปกติคนเรา ย่อมมีหมู่คณะและถ้อยทีถ้อยอาศัยซึ่งกันและกัน จึงต้องมีการปลูกไมตรี ผูกมิตรไว้ในคนดีๆ ด้วยกันทั้งหลาย เมื่อมีไมตรี มีมิตรก็เชื่อว่ามีผู้สนับสนุน ทำให้ได้รับความสะดวกในกิจที่พึงทำ ผู้ขาดไมตรี ขาดมิตร ก็เท่ากับขาดผู้สนับสนุน แม้จะมีทรัพย์ มีความรู้ความสามารถ แต่ก็คับแคบเหมือนอย่างมีแต่ตนผู้เดียว ยากที่จะได้รับความสะดวกในกิจการ อย่าว่าแต่บุคคลต่อบุคคลเลย แม้แต่ประเทศต่อประเทศก็จำต้องมีไมตรีต่อกัน}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๒๓''</sup>
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๒๓''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|คนที่ฉลาด ย่อมมีความคิดยาวออกไปถึงกาลข้างหน้า ทำในสิ่งที่ให้ประโยชน์สำหรับเด็กๆ โดยปกติ ย่อมมีอนาคตของชีวิตอยู่อีกมาก การศึกษาเล่าเรียนในบัดนี้ก็เพื่อสร้างอนาคตของชีวิตให้มีความสุขความเจริญ ถ้าทุกคนไม่มีอนาคตภายหน้า ก็ไม่จำเป็นต้องศึกษาเล่าเรียน แต่เพราะทุกคนต่างมีอนาคตจึงต้องพากันศึกษาเล่าเรียนและทำให้กิจการต่างๆ เพื่อมีความสุขความเจริญในอนาคต}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๒๔''</sup>
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๒๔''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|คนหนึ่งๆมีหน้าที่หลายอย่าง เมื่อเรารู้จักหน้าที่ของตนดีอยู่และปฏิบัติให้เหมาะแก่หน้าที่ ก็จะรักษาไว้ได้ ทั้งบ้าน ทั้งเมือง ทั้งศาสนา ทั้งตนเอง ทั้งผู้อื่น สามารถรักษาปกติภาพซึ่งเป็นศีลตามวัตถุประสงค์และรักษาปกติสุขซึ่งเป็น อานิสงส์ของ ศีล โดยสรุป ศีลนี้แหละเป็นมนุษยธรรม เพราะทำให้ผู้มีศีลได้ชื่อว่าเป็นมนุษย์โดยธรรม คิดดูว่าคนไม่มีหิริโอตัปปะ ไม่รู้จักผิดชอบ ประพฤติต่ำทราม จะควรเรียกว่ามนุษย์ได้อย่างไร}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๒๕''</sup>
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๒๕''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ไม่ควรมองออกไปแต่ภายนอก แต่ ควรมองเข้ามาดูภายในด้วย คือภายในครอบครัว เพราะเด็กต้องจำเจอยู่ในครอบครัว จึงเสวนากับบุคคลและสิ่งแวดล้อมในครอบครัวเป็นส่วนมาก ถ้ามีพี่เลี้ยงก็ควรเลือกพี่เลี้ยงที่ดี โดยเฉพาะพวกผู้ใหญ่ของเด็ก เช่น บิดามารดาต้องประพฤติตนให้เป็นตัวอย่างที่ดีของเด็ก เด็กย่อมเฝ้าผูกปัญหาสงสัยและคิดแก้ปัญหาในบุคคลและสิ่งรอบๆ ตัวอยู่เสมอ และคอยลอกเลียนดำเนินตามสิ่งที่ตนได้เห็นและผู้ใหญ่นั่นเองเป็นตัวอย่าง เมื่อประสงค์จะให้เด็กดีจึงจำต้องทำตนเป็นแบบอย่างที่ดีของเด็กด้วย}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๒๖''</sup>
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๒๖''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|คนโดยมากมักเข้าใจผิดในผลของความดี คือมักไปเข้าใจผลพลอยได้ว่าเป็นผลโดยตรง และมักมุ่งผลพลอยได้เป็นสำคัญ เมื่อไม่ได้ผลเป็นวัตถุจากการทำความดีก็จะบ่นว่าทำดีไม่เห็นจะได้อะไร รักษาศีลไม่เห็นร่ำรวยอะไร เป็นเพราะไม่เข้าใจว่า ผลของความดีคืออะไร ผลของความดี คือความหลุดพ้น ผู้ทำความดี ย่อมแสดงถึงว่าเป็นผู้ที่มีจิตหลุดพ้นจากความเห็นแก่ตัว มีจิตกว้างขวางออกไปโดยลำดับและเห็นว่าการให้สำคัญกว่าการรับ และย่อมบำเพ็ญความดีเพื่อความดี มิใช่เพื่อผลตอบแทนใดๆเป็นสำคัญ}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๒๗''</sup>
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๒๗''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ผู้ให้อภัยง่ายก็คือไม่โกรธง่ายนั่นเอง ดังนั้น ผู้ที่ปรารถนาจะฝึกจิตให้ไม่โกรธง่าย จึงควรต้องฝึกตนให้เป็นผู้มีเหตุผล เคารพเหตุผล นั่นคือให้คิดหาเหตุผลเพื่อให้เกิดความเห็นอกเห็นใจผู้ที่ตนอยากจะโกรธ เมื่อเห็นอกเห็นใจด้วยเหตุผลแล้วจะได้ไม่โกรธ จะได้อภัยให้ในความผิดพลาดหรือบกพร่องของเขา กล่าวอีกอย่างหนึ่ง ก็คือให้คิดหาเหตุผลเพื่อให้เกิดเมตตาในผู้ที่ตนอยากจะโกรธนั่นเอง}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๒๘''</sup>
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๒๘''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|อันคนที่ทำงานที่เป็นคุณให้ เกิดประโยชน์ย่อมจะต้องประสบถ้อยคำถากถาง หรือการขัดขวางน้อยหรือมาก ผู้มีใจอ่อนแอก็จะเกิดความย่อท้อ ไม่อยากจะทำดีต่อไป แต่ผู้ที่มีกำลังใจย่อมจะไม่ท้อถอย ยิ่งถูกค่อนแคะก็ยิ่งจะเกิดกำลังใจมากขึ้น คำค่อนแคะกลายเป็นพาหนะที่มีเดชะแห่งการทำความดี แม้พระพุทธเจ้าก็ยังถูกคนที่ริษยามุ่งร้ายจ้างคนให้ตามด่าว่าในบางครั้ง}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๒๙''</sup>
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๒๙''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|การที่จะให้ใครช่วยเหลือทำอะไร ต้องเลือกคนที่มีปัญญา ที่รู้จักผิดถูก ควรไม่ควร มิใช่ว่าถ้าเขามุ่งดีปรารถนาดีแล้ว เป็นมอบการงานให้ทำเรื่อยไป เพราะถ้าเป็นคนขาดปัญญา แม้จะทำด้วยความตั้งใจช่วยจริง แต่ก็อาจจะทำการที่เป็นโทษแม้อย่างอุกฤษฏ์ก็ได้}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๓๐''</sup>
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๓๐''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|คนเรานั้นนอกจากจะมีปัญญาแล้วยังต้องมีความคิดอีกด้วย จึงจะเอาตัวรอดได้จากอันตรายต่างๆ ในโลก วิสัยของบัณฑิตคือคนที่ฉลาดนั้น ย่อมไม่ยอมแพ้หรืออับจนต่อเหตุการณ์ทั้งหลายที่รัดรึงเข้ามา ย่อมใช้ความคิดคลี่คลายเอาตัวรอดปลอดภัยให้จงได้ และเป็นธรรมดาอยู่ที่คนฉลาดกว่า ย่อมเอาชนะคนที่ฉลาดน้อยกว่าได้}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๓๑''</sup>
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๓๑''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|คนโง่นั้นเมื่อยังยอมอาศัยปัญญาของคนฉลาดอยู่ ก็ยังพอรักษาตนอยู่ได้ แต่เมื่อโง่เกิดอวดฉลาดขึ้นมาเมื่อใด ก็เกิดวิบัติเมื่อนั้น และเมื่อถึงคราวคับขันซึ่งจะต้องแสดงวิชาเอง คนโง่ก็จะต้องแสดงโง่ออกมาจนได้ ฉะนั้น ถึงอย่างไรก็สู้หาวิชาใส่ตนให้เป็นคนฉลาด ขึ้นเองไม่ได้ ทั้งคนดีมีวิชาถึงจะมีรูปร่างไม่ดี ก็จะต้องได้ดีในที่สุด}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๓๒''</sup>
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๓๒''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|คนที่อ่อนแอย่อมแพ้อุปสรรคง่ายๆ ส่วนคนที่เข้มแข็งย่อมไม่ยอมแพ้ เมื่อพบอุปสรรคก็แก้ไขไปรักษาการงานหรือสิ่งมุ่งจะทำไว้ด้วยจิตใจที่มุ่ง มั่น ถืออุปสรรคเหมือนอย่างสัญญาณไฟแดงที่จะต้องพบเป็นระยะ ถ้ากลัวจะต้องพบสัญญาณไฟแดงตามถนนซึ่งจะต้องหยุดรถ ก็จะไปข้างไหนไม่ได้ แม้การดำเนินชีวิตก็ฉันนั้น ถ้ากลัวจะต้องพบอุปสรรคก็ทำอะไรไม่ได้}}
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | {{fs|100%|<div><br></div>''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช''}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''ประมวลคำสอนที่ ๓๓''</sup>