ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎คำคมที่มีแหล่งที่มา: ลบจุดออกครับ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัดที่ 3:
==คำคมที่มีแหล่งที่มา==
* ''E = mc²''
* กลศาสตร์ควอนตัมนั้นน่าอัศจรรย์ แต่เสียงในหัวใจของฉันบอกว่ามันยังไม่ใช่ความจริง. ทฤษฎีบอกอะไรได้มากมาย แต่มันยังไม่พาเราเข้าใกล้ความลับของพระเจ้า ''ฉันคิดว่า พระเจ้าไม่ได้ทอยลูกเต๋าหรอก''
** จดหมายถึง Max Born เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม ค.ศ. 1926
* 1 ชั่วโมงที่ชายหนุ่มนั่งเคียงหญิงสาวผ่านไปไวราวกับ 1 นาที แต่ 1 นาทีที่เขานั่งบนเตาที่ร้อน ผ่านไปราวกับ 1 ชั่วโมง. นี่คือสัมพัทธภาพ
** คำคมจาก Steve Mirsky ''Scientific American'' (September 2002). Vol. 287, Iss. 3; pg. 102.
* Intelligence makes clear to us the interelationship of means and ends. But mere thinking cannot give us a sense of the ultimate and fundamental ends. To make cler these fundamental ends and valuations and to set them fast in the emotional life of the individual, seems to me precisely the most important function which religion has to form in the social like of man.
**Albert Einstein, Science, Philsophy and Religion : A Symposium, (1941) ch. 13, Published by the Conference on Science, Philosophy and Religion in Their Relation to the Democratic Way of Life, Inc., New York, 1941.
* เชาว์ปัญญาทำให้เรามีความกระจ่างชัดในเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างกันของวิธีการกับเป้าหมาย. แต่ลำพังการคิดหาเหตุผลนั้นมิอาจทำให้เรามีความรู้สึกเกี่ยวกับเป้าหมายพื้นฐานและเป้าหมายสุดท้ายได้. การทำความกระจ่างชัดเกี่ยวกับเป้าหมายพื้นฐานเหล่านี้ และการประเมินค่าก็ดี, ทั้งการทำให้เป้าหมายพื้นฐานเหล่านี้แน่นเหนียวในชีวิตทางอารมย์ความรู้สึกของปัจเจกบุคคลก็ดี สำหรับข้าพเจ้าแล้วดูเหมือนเป็นที่แน่นอนว่าหน้าที่สำคัญที่สุด ซึ่งศาสนาต้องแสดงบทบาทในชีวิตทางสังคมของมนุษย์.
**อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์, วิทยาศษสตร์, ปรัชญา และศาสนา : ประชุมเอกสารัตถ์ (1941) บทที่ 13, พิมพ์เผยแพร่โดยการประชุมว่าด้วยวิทยาศาสตร์ ปรัชญา และศาสนาในความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย, อิงค์., นิวยอร์ค, 1941.