ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระสังฆราช เจริญ สุวฑฺฒโน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rameshe999 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: การแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: การแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัดที่ 47:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๒''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|คำว่า ชีวิต มิ ได้มีความหมายเพียงแค่ความเป็นอยู่แห่งร่างกาย แต่หมายถึงความสุข ความทุกข์ ความเจริญ ความเสื่อม ของบุคคลในทางต่างๆต่าง ๆ ด้วยบางคนมีปัญหาว่า จะวาดภาพชีวิตของตนอย่างไรในอนาคต หรืออะไรควรจะเป็นจุดมุ่งหมายของชีวิต และจะไปถึงจุดหมายนั้นหรือที่นึกที่วาดภาพไว้นั้นด้วยอะไร ปัญหาที่ถามคลุมไปดังนี้ น่าจะตอบให้ตรงจุดเฉพาะบุคคลได้ยาก เพราะไม่รู้ว่าทางแห่งชีวิตของแต่ละบุคคลตามที่กรรมกำหนดไว้เป็นอย่างไร และถ้าวาดภาพของชีวิตอนาคตไว้เกินวิสัยของตนที่จะพึงถึง แบบที่เรียกว่าสร้างวิมานบนอากาศ ก็จะเกิดความสำเร็จขึ้นมาไม่ได้แน่ หรือแม้วาดภาพชีวิตไว้ในวิสัยที่พึงได้พึงถึง แต่ขาดเหตุที่จะอุปการะให้ไปถึงจุดหมายนั้นก็ยากอีกเหมือนกันที่จะเกิดเป็นความจริงขึ้นมา}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="3"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๓''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|เรา เกิดมาด้วยตัณหา ความอยากและกรรมเพื่อสนองตัณหาและกรรมของตนเอง ตัณหาและกรรมจึงเป็นตัวอำนาจหรือผู้สร้างให้เราเกิดมา ใครเล่าเป็นผู้สร้างอำนาจนี้ ตอบได้ว่าคือ ตัวเอง เพราะตนเองเป็นผู้อยากเองและเป็นผู้ทำกรรม ฉะนั้นตนนี้เองแหละเป็นผู้สร้างให้ตนเองเกิดมาอนุมาน ดูตามคำของผู้ตรัสรู้นี้ในกระแสปัจจุบัน สมมติว่าอยากเป็นผู้แทนราษฎร ก็สมัครรับเลือกตั้งและหาเสียง เมื่อชนะคะแนนก็เป็นผู้แทนราษฎร นี่คือความอยากเป็นเหตุให้ทำกรรม คือทำการต่างๆต่าง ๆ ตั้งแต่การสมัคร การหาเสียง เป็นต้น ซึ่งเป็นเหตุให้ได้รับผล คือ ได้เป็นผู้แทน}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="4"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๔''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ความเปลี่ยนแปลงของชีวิตหรือของโลกเป็นทุกข์ประจำชีวิตหรือประจำโลกไม่เป็นเรื่องแปลกประหลาดอันใด เมื่อจะสรุปกล่าวให้สั้น ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ทั้งสี่นี้ย่อลงเป็นสอง คือความเกิดและความดับ ซึ่งเป็นสิ่งที่สกัดหน้าสกัดหลังของโลก ของชีวิตทุกชีวิตนี่เรียกคติธรรมดา แปลว่า ความเป็นไปตามธรรมดา ความไม่สบายใจทุกๆทุก ๆ อย่าง พระพุทธเจ้าทรงชี้ว่าเป็นทุกข์ ทุกคนคงเคยประสบกับสิ่งที่ไม่เป็นที่รัก พลัดพรากจากสิ่งที่เป็นที่รัก ปรารถนาไม่ได้สมหวัง เกิดทุกข์โศกต่างๆต่าง ๆ นี่แหละพระพุทธเจ้าตรัสเรียกว่าเป็นทุกข์โลกหรือชีวิต ประกอบด้วยทุกข์ดังกล่าวมาแล้ว ฉะนั้น ทุกข์จึงเป็นความจริงที่โลกหรือทุกชีวิตต้องเผชิญ}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="5"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๕''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ชีวิตคนเรา เติบโตขึ้นมาดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยความเมตตากรุณาจากผู้อื่นมาตั้งแต่เบื้องต้น คือ เมตตา กรุณา จากบิดา มารดา ครูบาอาจารย์ ญาติสนิท มิตรสหาย ถ้าไม่ได้รับความเมตตา ก็อาจจะสิ้นชีวิตไปแล้วเพราะถูกทิ้ง เมื่อเราเติบโตมาจากความเมตตากรุณา ก็ควรมีความเมตตากรุณาต่อชีวิตอื่นต่อไป วิธีปลูกความเมตตากรุณา คือ ต้องตั้งใจปรารถนาให้เขาเป็นสุข ตั้งใจปรารถนาให้เขาปราศจากทุกข์ โดยเริ่มจากเมตตาตัวเองก่อน แล้วคิดไปถึงคนใกล้ชิด คนที่เรารัก จะทำให้เกิดความเมตตาได้ง่าย แล้วค่อยๆค่อย ๆ คิดไปให้ความเมตตาต่อคนที่ห่างออกไปโดยลำดับ}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="6"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
บรรทัดที่ 77:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๘''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|การฆ่าตัวตาย เป็นการแสดงความอับจนพ่ายแพ้หมดหนทางแก้ไข หมดทางออกอย่างอื่น สิ้นหนทางแล้ว เมื่อฆ่าตัวตายก็เป็นการทำลายตัว เมื่อทำลายตัวก็เป็นการทำลายประโยชน์ทุกอย่างที่พึงได้ในชีวิต ในบางกลุ่มบางหมู่เห็นว่าการฆ่าตัวตายในบางกรณีเป็นเกียรติสูง แต่ทางพระพุทธศาสนาแสดงว่าเป็นโมฆกรรม คือกรรมที่เปล่าประโยชน์ เรียกผู้ทำว่า คนเปล่า เท่ากับว่าตายเปล่าๆเปล่า ๆ ควรจะอยู่ทำอะไรให้เกิดประโยชน์ต่อไปได้ ก็หมดโอกาส}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="9"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๙''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|การแก้ปัญหาของคนเรา ถ้าป้องกันไว้ก่อนแก้ไม่ทันก็แก้เมื่อปัญหายังเล็กน้อยจะง่ายกว่า เหมือนอย่างดับไฟกองเล็กง่ายกว่าดับไฟกองโต ถ้าเป็นผู้ที่สนใจธรรมะบ้างก็จะหาหนทางปฏิบัติได้ถูกต้อง ดังที่พระพุทธเจ้ายกขึ้นแสดงว่า ธรรมะพันเกี่ยวข้องกับตัวเราเอง ทุกๆทุก ๆ คนไม่ว่าเด็กหรือผู้ใหญ่ ผู้ชายหรือผู้หญิง ถ้าตั้งมั่นในการประพฤติธรรมให้พอเหมาะแก่ภาวะของตนเอง ก็จะทำให้พ้นจากความทุกข์ภัยพิบัติได้ ถ้าไม่ปฏิบัติก็อาจจะเผลอพลั้งพลาด และถ้าไม่รู้วิธีแก้ปัญหาด้วยธรรมะก็อาจจะทำให้หลุดพ้นจากบ่วงปัญหาได้ยาก ฉะนั้น ถ้าสนใจพระธรรมบ้างก็จะมีเครื่องป้องกันแก้ไขให้พ้นจากความทุกข์ ดังคำกล่าวที่ว่าพระธรรมคุ้มครอง}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="10"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๑๐''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|มารดาบิดาเป็นทิศเบื้องหน้า ครูอาจารย์เป็นทิศเบื้องขวา บุตรภรรยาเป็นทิศเบื้องหลัง มิตรสหายเป็นทิศเบื้องซ้าย คนรับใช้หรือผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นทิศเบื้องต่ำ สมณพราหมณ์เป็นทิศเบื้องบน ถ้าทิศทั้งหลายดังกล่าวไม่ดีเสียโดยมาก ก็ยากที่จะให้ใครๆใคร ๆ ที่อยู่ระหว่างกลางดีอยู่ฝ่ายเดียว}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="11"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๑๑''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|เมื่อมองไปเบื้องหน้า ไม่มีบิดา-มารดาเป็นที่ยึดเหนี่ยว มองไปเบื้องขวาก็ไม่พบครู-อาจารย์ที่จะอบรมแนะนำ มองไปเบื้องหลังก็ไม่พบญาติพี่น้องผู้หวังดี มองไปเบื้องซ้ายก็ไม่มีสหายที่เป็นกัลยาณมิตร มองไปเบื้องล่างก็ไม่พบผู้ที่รับใช้ให้ความช่วยเหลือ มองไปเบื้องบนก็ไม่พบสมณพราหมณ์ผู้ประพฤติดี ซึ่งจะเป็นผู้ชี้ทางที่ถูกให้ ตรงกันข้าม มองไปทางทิศไหนก็พบแต่โรงหนัง โรงละคร สถานอบายมุขต่างๆต่าง ๆ และบุคคลต่างๆต่าง ๆ ที่ชักนำไปทางเดียวกัน เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะเป็นเหตุชักจูงกันไปในทางเสื่อมเสียต่างๆต่าง ๆ แต่ถ้าทิศทั้งหลายดีอยู่โดยมากก็ยากจะเสื่อมเสียได้}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="12"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๑๒''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|การเลี้ยงดูเด็กให้เติบโตควรทำความเข้าใจว่ามี ๒ อย่าง คือเลี้ยงร่างกาย เลี้ยงดูจิตใจ เพราะความเติบโตของเด็กทั้งทางร่างกายและทางจิตใจ จะมุ่งเลี้ยงร่างกายทอดทิ้งทางจิตใจ ย่อมเป็นความบกพร่องอย่างสำคัญ ไม่ควรถือตามคำปัดว่าเลี้ยงกันได้แต่กาย ใจเลี้ยงไม่ได้ ใจที่อาจเลี้ยงไม่ได้ คือใจที่แข็งหรือเติบโตเป็นตัวของตัวเองในทางที่ถูกหรือผิดเสียแล้ว แต่จิตใจที่ยังอ่อนยังจะเติบโตต่อไป ถ้าผู้ปกครองบำรุงเลี้ยงให้อาหารใจที่ดีอยู่เสมอแล้ว ภาวะทางจิตใจของเด็กก็จะเติบโตขึ้นในทางที่ดี ทั้งนี้เกี่ยวแก่การอบรมดี ให้เด็กได้เสวนา คือซ่องเสพคบหา คุ้นเคยกับบุคคล และสิ่งแวดล้อมที่ดี ที่ชอบ ถูกต้อง เมื่อเด็กได้รับการเลี้ยงดูให้มีร่างกายจิตใจเติบโตขึ้นสมดุลกันก็จะเติบโต ดีขึ้นเรื่อยๆเรื่อย ๆ}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="13"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๑๓''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ในการแก้ปัญหาเยาวชน บุคคลที่เป็นทิศสำคัญๆสำคัญ ๆ ทุกฝ่ายของเยาชน แต่ละคนจึงจำเป็นต้องร่วมมือกันตั้งตนของตนเองไว้โดยชอบ ให้เป็นทิศที่ดีตามฐานะที่เกี่ยวข้อง และอันที่จริง ไม่ใช่แต่เยาวชนเท่านั้น ทุกๆทุก ๆ คนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ เมื่อทิศต่างๆต่าง ๆ โดยรอบตนดีอยู่ก็ย่อมจะชักนำกันไปในทางที่ดีได้ แต่มีข้อแตกต่างต่างกันอยู่ว่า สำหรับเด็กหรือเยาวชนนั้น ยังเป็นผู้เยาว์สติปัญญาจำต้องอาศัยทิศรอบตนที่ดี ซึ่งผู้ใหญ่จำต้องทำตนให้เป็นทิศของเด็ก และช่วยสร้างทิศที่ดีให้แก่เด็ก}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="14"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๑๔''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|คนวัยรุ่นกำลังเจริญด้วยพลัง กำลังทะยานกายทะยานใจ เหมือนน้ำตกแรง เมื่อไม่สมหวัง มักจะทำอะไรแรง จึงมักพลาดได้ง่าย และเมื่อพลาดลงไปในห้วงอะไรที่แรงๆแรง ๆ แล้ว ก็อันตรายมาก เหมือนอย่างไปเล่นสนุกกันที่น้ำตก อาจเผลอพลาดตกลงไปกับน้ำตกที่โจนลงไปจากหน้าผาสูงชัน}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="15"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
บรรทัดที่ 117:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๑๖''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ผู้ที่มีความคิดน้อย ย่อมนิยมชมชื่นในปัญญาแห่งมนุษย์ในปัจจุบัน และเหยียดดูถูกบรรพชนของตนเอง แต่ผู้ที่มีวิจารณญาณย่อมพินิจนับถือบูรพชนหรือโบราณชนเป็นอย่างดี โดยฐานะที่เป็นผู้ร่วมก่อกำเนิดศิลปวิทยาและประดิษฐ์วัตถุหรือในศิลปวิทยา นั้นๆนั้น ๆ ได้ มนุษย์อีกคนหนึ่งไม่สามารถคิดเช่นนั้นได้ เมื่อเห็นว่าเหมาะดีแล้วก็นำเอาไปใช้ศึกษาและปฏิบัติตาม กล่าวโดยเฉพาะศิลปวิทยา หมู่หรือคณะ หรือว่าบุคคลที่บรรลุความเจริญจำต้องนับถือความรู้ของกันและกัน จำต้องศึกษาแลกเปลี่ยนความรู้ของกันและกัน เพราะเหตุนี้ ผู้มุ่งความเจริญจึงพากันพยายามศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศตามกำลังความสามารถ เหล่านี้เป็นข้อแสดงถึงความเอาอย่างหรือความตามกันในความรู้ แม้ในทางความประพฤติก็เช่นเดียวกัน}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="17"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๑๗''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|คนเราทั้งเด็กและผู้ใหญ่ต้อง ทำต้องพูดอยู่ทุกๆทุก ๆ วัน เด็กหรือผู้ใหญ่ที่มีสติ เมื่อทำอะไรพูดอะไรไปแล้วก็ระลึกได้ว่าได้ทำอะไรหรือพูดอะไรผิดหรือถูกเรียบร้อยหรือไม่เรียบร้อย เป็นต้น จะทำจะพูดอะไรก็มีความระลึกนึกคิดก่อนว่าดีหรือไม่ดี อย่างโบราณสอนให้นับสิบก่อน คือ ให้นึกให้รอบคอบก่อนนั่นเอง ในขณะที่กำลังทำกำลังพูดก็รู้ตัวอยู่เสมอ ไม่หลงลืมตัวไม่เผลอตัว บางคนมีปัญญาความรู้ดีแต่ขาดสติ ทำพูดอะไรผิดพลาดได้ อย่างที่พูดกันฉลาดแต่ไม่เฉลียว จึงสมควรหัดให้มี สติรอบคอบ}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="18"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
บรรทัดที่ 147:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๒๒''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|โดยปกติคนเรา ย่อมมีหมู่คณะและถ้อยทีถ้อยอาศัยซึ่งกันและกัน จึงต้องมีการปลูกไมตรี ผูกมิตรไว้ในคนดีๆดี ๆ ด้วยกันทั้งหลาย เมื่อมีไมตรี มีมิตรก็เชื่อว่ามีผู้สนับสนุน ทำให้ได้รับความสะดวกในกิจที่พึงทำ ผู้ขาดไมตรี ขาดมิตร ก็เท่ากับขาดผู้สนับสนุน แม้จะมีทรัพย์ มีความรู้ความสามารถ แต่ก็คับแคบเหมือนอย่างมีแต่ตนผู้เดียว ยากที่จะได้รับความสะดวกในกิจการ อย่าว่าแต่บุคคลต่อบุคคลเลย แม้แต่ประเทศต่อประเทศก็จำต้องมีไมตรีต่อกัน}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="23"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๒๓''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|คนที่ฉลาด ย่อมมีความคิดยาวออกไปถึงกาลข้างหน้า ทำในสิ่งที่ให้ประโยชน์สำหรับเด็กๆเด็ก ๆ โดยปกติ ย่อมมีอนาคตของชีวิตอยู่อีกมาก การศึกษาเล่าเรียนในบัดนี้ก็เพื่อสร้างอนาคตของชีวิตให้มีความสุขความเจริญ ถ้าทุกคนไม่มีอนาคตภายหน้า ก็ไม่จำเป็นต้องศึกษาเล่าเรียน แต่เพราะทุกคนต่างมีอนาคตจึงต้องพากันศึกษาเล่าเรียนและทำให้กิจการต่างๆต่าง ๆ เพื่อมีความสุขความเจริญในอนาคต}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="24"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๒๔''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|คนหนึ่งๆหนึ่ง ๆ มีหน้าที่หลายอย่าง เมื่อเรารู้จักหน้าที่ของตนดีอยู่และปฏิบัติให้เหมาะแก่หน้าที่ ก็จะรักษาไว้ได้ ทั้งบ้าน ทั้งเมือง ทั้งศาสนา ทั้งตนเอง ทั้งผู้อื่น สามารถรักษาปกติภาพซึ่งเป็นศีลตามวัตถุประสงค์และรักษาปกติสุขซึ่งเป็น อานิสงส์ของ ศีล โดยสรุป ศีลนี้แหละเป็นมนุษยธรรม เพราะทำให้ผู้มีศีลได้ชื่อว่าเป็นมนุษย์โดยธรรม คิดดูว่าคนไม่มีหิริโอตัปปะ ไม่รู้จักผิดชอบ ประพฤติต่ำทราม จะควรเรียกว่ามนุษย์ได้อย่างไร}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="25"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๒๕''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ไม่ควรมองออกไปแต่ภายนอก แต่ ควรมองเข้ามาดูภายในด้วย คือภายในครอบครัว เพราะเด็กต้องจำเจอยู่ในครอบครัว จึงเสวนากับบุคคลและสิ่งแวดล้อมในครอบครัวเป็นส่วนมาก ถ้ามีพี่เลี้ยงก็ควรเลือกพี่เลี้ยงที่ดี โดยเฉพาะพวกผู้ใหญ่ของเด็ก เช่น บิดามารดาต้องประพฤติตนให้เป็นตัวอย่างที่ดีของเด็ก เด็กย่อมเฝ้าผูกปัญหาสงสัยและคิดแก้ปัญหาในบุคคลและสิ่งรอบๆรอบ ๆ ตัวอยู่เสมอ และคอยลอกเลียนดำเนินตามสิ่งที่ตนได้เห็นและผู้ใหญ่นั่นเองเป็นตัวอย่าง เมื่อประสงค์จะให้เด็กดีจึงจำต้องทำตนเป็นแบบอย่างที่ดีของเด็กด้วย}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="26"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๒๖''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|คนโดยมากมักเข้าใจผิดในผลของความดี คือมักไปเข้าใจผลพลอยได้ว่าเป็นผลโดยตรง และมักมุ่งผลพลอยได้เป็นสำคัญ เมื่อไม่ได้ผลเป็นวัตถุจากการทำความดีก็จะบ่นว่าทำดีไม่เห็นจะได้อะไร รักษาศีลไม่เห็นร่ำรวยอะไร เป็นเพราะไม่เข้าใจว่า ผลของความดีคืออะไร ผลของความดี คือความหลุดพ้น ผู้ทำความดี ย่อมแสดงถึงว่าเป็นผู้ที่มีจิตหลุดพ้นจากความเห็นแก่ตัว มีจิตกว้างขวางออกไปโดยลำดับและเห็นว่าการให้สำคัญกว่าการรับ และย่อมบำเพ็ญความดีเพื่อความดี มิใช่เพื่อผลตอบแทนใดๆใด ๆ เป็นสำคัญ}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="27"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
บรรทัดที่ 187:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๓๐''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|คนเรานั้นนอกจากจะมีปัญญาแล้วยังต้องมีความคิดอีกด้วย จึงจะเอาตัวรอดได้จากอันตรายต่างๆต่าง ๆ ในโลก วิสัยของบัณฑิตคือคนที่ฉลาดนั้น ย่อมไม่ยอมแพ้หรืออับจนต่อเหตุการณ์ทั้งหลายที่รัดรึงเข้ามา ย่อมใช้ความคิดคลี่คลายเอาตัวรอดปลอดภัยให้จงได้ และเป็นธรรมดาอยู่ที่คนฉลาดกว่า ย่อมเอาชนะคนที่ฉลาดน้อยกว่าได้}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="31"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
บรรทัดที่ 197:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๓๒''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|คนที่อ่อนแอย่อมแพ้อุปสรรคง่ายๆง่าย ๆ ส่วนคนที่เข้มแข็งย่อมไม่ยอมแพ้ เมื่อพบอุปสรรคก็แก้ไขไปรักษาการงานหรือสิ่งมุ่งจะทำไว้ด้วยจิตใจที่มุ่ง มั่น ถืออุปสรรคเหมือนอย่างสัญญาณไฟแดงที่จะต้องพบเป็นระยะ ถ้ากลัวจะต้องพบสัญญาณไฟแดงตามถนนซึ่งจะต้องหยุดรถ ก็จะไปข้างไหนไม่ได้ แม้การดำเนินชีวิตก็ฉันนั้น ถ้ากลัวจะต้องพบอุปสรรคก็ทำอะไรไม่ได้}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="33"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
บรรทัดที่ 207:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๓๔''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|วิธีดับความปรารถนาต้องการ ก็คือ หัดเป็นผู้ให้บ่อยๆบ่อย ๆ ให้เสมอๆเสมอ ๆ การให้กับการดับความปรารถนาต้องการ จะเกิดขึ้นพร้อมกันเสมอ ถ้าการให้นั้นเป็นการให้เพื่อลดกิเลสคือความโลภในใจตน มิได้เป็นการให้เพื่อหวังผลตอบแทนที่ยิ่งกว่า}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="35"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
บรรทัดที่ 257:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๔๔''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ความเชื่อกรรม ถ้าเชื่อให้ถูกทางก็จะแก้ความเชื่อโชคลางต่างๆต่าง ๆ ได้เป็นอันมาก และสำหรับคนเรามีปัญญาสร้างกรรมใหม่ๆใหม่ ๆ ขึ้นได้ดีๆดี ๆ มีพระธรรมของพระพุทธเจ้าปฏิบัติรักษาอยู่ก็เป็นผู้มีสรณะ กำจัดทุกข์ภัยต่างๆต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="45"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๔๕''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|สอนทางพระพุทธศาสนา สอนให้ทุกๆทุก ๆ คนพิจารณาให้ทราบหลักกรรมเนืองๆเนือง ๆ เพื่อเป็นผู้ไม่ประมาทพยายามละกรรมชั่ว ประกอบแต่กรรมดี เพราะทุกๆทุก ๆ คนสามารถละกรรมที่ชั่ว ประกอบแต่กรรมที่ดีได้การที่ยังปฏิบัติดังกล่าวไม่ได้ ก็เพราะยังประมาท มิได้พิจารณาให้รู้ตระหนักในหลักกรรม และไม่เชื่อกรรมไม่เชื่อผลของกรรม ไม่เชื่อความที่สัตว์มีกรรมเป็นของตน ต่อเมื่อเป็นผู้ไม่ประมาทและมีศรัทธา ความเชื่อดังกล่าวจึงจะละกรรมชั่ว ทำกรรมดีได้ตามสมควร}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="46"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๔๖''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ทุกๆทุก ๆ คนทำกรรมใดไว้ กรรมนั้นย่อมให้ผลในปัจจุบันบ้าง ในภายหน้าบ้าง ในเวลาต่อๆต่อ ๆ ไปบ้างตามแต่กรรมนั้นๆนั้น ๆ จะหนักเบาอย่าง ไร ท่านเปรียบเหมือนอย่างยืนอยู่บนที่สูงและโยนสิ่งต่างๆต่าง ๆ มีก้อนหิน ก้อนดิน กิ่งไม้ ใบหญ้าลงมา ของที่มีน้ำหนักมากย่อมตกลงสู่ พื้นดินก่อน ส่วนกรรมที่หนักน้อยกว่าหรือเบากว่าจะให้ผลตามหลัง}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="47"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
บรรทัดที่ 277:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๔๘''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ผู้ที่ทำกรรมดีอยู่มากเสมอๆเสมอ ๆ จึงไม่ต้องกลัวกรรมชั่วในอดีตหากจะมี กุศลของตนก็จะชูช่วยให้มีความสุขความเจริญสืบต่อไป และถ้าได้แผ่เมตตาจิตอยู่เนืองๆเนือง ๆ ก็จะระงับคู่เวรอดีตได้อีกด้วย ระงับได้ตลอดถึงปัจจุบัน}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="49"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
บรรทัดที่ 287:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๕๐''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|พระพุทธศาสนาแสดงเรื่องกรรมไว้ เพื่อให้รู้ว่ากรรมเป็นเหตุวิบาก คือผลตั้งแต่ถือ กำเนิดเกิดมาและติดตามให้ผลต่างๆต่าง ๆ ต่อชีวิต ทำนองลิขิตนั่นแหละแต่กระบวนของกรรมที่ทำไว้มีสลับซับซ้อนมาก ทั้งเกี่ยวกับเวลาที่กรรมให้ผล และข้อสำคัญที่สุดคือเกี่ยวกับความประพฤติปฏิบัติของแต่ละบุคคลในปัจจุบัน คือทางพระพุทธศาสนาสอนให้ไม่เป็นทาสของกรรมเก่า เช่น เดียวกับให้ไม่เป็นทาสของตัณหา แต่ให้ละกรรมชั่วกระทำกรรมดี และชำระจิตของตนให้บริสุทธิ์สะอาด ตามหลักพระโอวาท ๓ หรือกล่าวโดยทั่วไป มีกิจอะไรก็ตามควรทำก็ทำ โดยไม่ต้องนั่งรอนอนรอผลของกรรมเก่าอะไร}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="51"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๕๑''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|คนส่วนมากยังมีความเชื่อว่ามีผู้ดลบันดาลให้เกิดสิ่งต่างๆต่าง ๆ ขึ้น แต่ทางพระพุทธศาสนาได้ แสดงว่าคนมีกรรมเป็นของตน จะมีสุขหรือทุกข์เพราะกรรม ผู้คนเลยหันมากลัวกรรม กรรมจึงคล้ายเป็นผู้เคราะห์ร้ายที่ถูกเข้าใจในทางร้ายอยู่เสมอ กรรมจึงกลายเป็นอดีตที่น่ากลัว พระพุทธศาสนาไม่ได้สอนให้คนกลัวกรรม ไม่ได้สอนให้ตกเป็นทาสของกรรมหรืออยู่ใต้อำนาจของกรรมแต่สอนให้รู้จักกรรม ให้มีอำนาจเหนือกรรม ให้ควบคุมกรรมของตนในปัจจุบัน}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="52"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
บรรทัดที่ 302:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๕๓''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|กรรมเก่า คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และมโนหรือใจ กล่าวคือร่างกายที่ประกอบด้วยอายตนะทั้งหกนี้ คือตัวกรรมเก่า เป็นกรรมเก่าที่ทุก ๆ คนมองเห็น นอกจากนี้ยังเป็นวัตถุที่ตั้งแห่งกรรมใหม่ทั้งปวงอีกด้วย เพราะกรรมที่เกิดขึ้นในปัจจุบันจะเป็นกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ก็อาศัยกรรมเก่านี้แหละเป็นเครื่องมือกระทำ}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="54"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๕๔''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ตา หู มิใช่จะมีไว้เฉยๆเฉย ๆ ต้องดูต้องฟังแล้วก็ให้เกิดกิเลส เช่น ราคะ(ความยินดี) โทสะ(ความขัดเคือง) โมหะ(ความหลงใหล) ให้เกิดขึ้นขณะที่ร่างกายเจริญวัยหนุ่มสาว ซึ่งกล่าวได้ว่ากรรมเก่ากำลังเติบโตเป็นหนุ่มสาว ก็ยิ่งเป็นสื่อของราคะ โทสะ และเป็นสื่อแห่งกรรมต่างๆต่าง ๆ ตามอำนาจของจิตใจที่กำลังระเริงหลง จึงจำเป็นต้องมีการควบคุมปกครอง จะปล่อยเสียหาได้ไม่ ถ้าตนเองควบคุมตนเองได้ก็เป็นวิเศษที่สุด แต่ถ้าควบคุมตนเองไม่ได้ก็ต้องมีผู้ใหญ่ เช่น บิดา มารดา และผู้ใหญ่อื่นๆอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องควบคุมให้อยู่ในระเบียบวินัยที่ดีงาม ให้เกิดสำนึกว่าเรานี้เกิดมาเพื่อทำความดี}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="55"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
บรรทัดที่ 317:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๕๖''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|เวร เกิดจากความผูกใจเจ็บแค้นของบุคคลที่สอง คือผู้รับความเสียหาย ถ้าบุคคลที่สองไม่ผูกใจเจ็บก็ไม่เกิดเป็นเวร การเกิดเวรเพราะบุคคลที่สองเป็นสำคัญเมื่อใครมาทำความล่วงเกินเล็กๆน้อยๆเล็ก ๆ น้อย ๆ ต่อเรา เราไม่ผูกอาฆาตเขาและเราก็ไม่เกิดเป็นศัตรูกัน คือไม่เกิดเป็นคู่เวรกันนั่นเอง เหมือนอย่างตบมือข้างเดียวไม่เกิดเสียง}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="57"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๕๗''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|อันเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแก่ชีวิต มีอยู่เป็นอันมากที่บังเกิดขึ้นโดยไม่รู้ไม่คิดมาก่อน แต่เมื่อเป็นเหตุการณ์ที่จะต้องเกิดก็เกิดขึ้นจนได้ ถ้าหากใครมองดูเหตุการณ์ต่างๆต่าง ๆ เหล่านั้นอย่างของเล่นๆของเล่น ๆ ไม่จริงจังก็ไม่เกิดทุกข์เดือดร้อนหรือจะเกิดบ้างก็เกิดอย่างเล่นๆเล่น ๆ ถ้าจะหนีเหตุการณ์เสียบ้าง ก็เหมือนอย่างหนีไปเที่ยวเล่น หรือไปพักผ่อนเสียครั้งคราวหนึ่ง}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="58"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
บรรทัดที่ 347:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๖๒''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ทุกข์ แปลว่า สิ่งที่ดำรงคงอยู่ได้ยาก แต่มีความหมายเป็นปฏิเสธว่า ดำรงทนอยู่ไม่ได้ทีเดียว คือ ต้องเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆเรื่อย ๆ เพราะทุกอย่างในโลกต้องเปลี่ยนแปลงไป ไม่สามารถดำรงอยู่ได้ตลอดกาล สิ่งที่เคยมี เคยเป็น ต้องแปรเปลี่ยนไป เมื่อจิตใจรับไม่ได้กับความเปลี่ยนแปลงที่มีถึง จึงทำให้เกิดความไม่พอใจ ไม่สบายใจ ก็เลยกลายเป็นความทุกข์ ตามความหมายสามัญ คำว่าทุกข์ตามความหมายสามัญ หมายถึงความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ตรงข้ามกับความสุข ฉะนั้น เมื่อพูดถึงความทุกข์จึงมักเข้าใจกันตามหลักสามัญดังกล่าว}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="63"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๖๓''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ในภาษาไทย เมื่อพูดว่าทุกข์ก็หมายกันว่าคือความไม่สบายใจ แต่ในทางพุทธศาสนา ยังหมายถึง ความคงทน ที่อยู่คงที่ไม่ได้ ต้องแปรปรวนเปลี่ยนแปลงไปด้วย ในโลกนี้มีอะไรเล่าที่ตั้งคงที่โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลง ดวงอาทิตย์ และดวงดาวทั้งหลายตลอดจนโลก ก็ไม่หยุดคงที่ ปี เดือน วัน คืน ก็ไม่หยุดคงที่ ชีวิตก็ไม่หยุดคงที่ทุกๆทุก ๆ คนเกิดมาแล้วก็เติบโตขึ้นเรื่อย เป็นเด็กเล็ก เด็กใหญ่ เป็นหนุ่ม เป็นสาว โดยลำดับ และก็ไม่หยุดเพียงเท่านี้ ยังเปลี่ยนแปลงต่อไปเป็นผู้ใหญ่ เป็นคนแก่ จนถึงวันสุดท้ายของชีวิต}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="64"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
บรรทัดที่ 372:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๖๗''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ทางออกจากทุกข์นั้นคือ ต้องรับรู้ความจริงต้องป้องกันมิให้ถลำลึกลงไปในทางแห่งทุกข์ คือควบคุม ตัณหามิยอมให้ฉุดชักใจไปได้ และถ้าถลำใจลงไปแล้วต้องพยายามถอนใจขึ้นให้จงได้ด้วยปัญญา เพราะเมื่อทุกข์เกิดขึ้นที่จิตใจ ก็ต้องดับจากจิตใจ และจิตใจของทุกคนอาจสมมติกล่าวได้ว่าเป็นธรรมชาติกายสิทธิ์ ไม่มีอะไรจะมา ทำลายได้ นอกจากจะยอมจนใจของตัวเองเท่านั้น ถ้าทำใจให้เข้มแข็งก็จะเกิดพลังใจขึ้นจนสามารถต่อสู้ต่างๆต่าง ๆ ขจัดขับไล่ตัณหาออก ไปเสียก่อน ความทุกข์ต่างๆต่าง ๆ ก็จะออกไป พร้อมกัน}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="68"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๖๘''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ชีวิตในชาติหนึ่งๆหนึ่ง ๆ กับทั้งสุขทุกข์ต่างๆต่าง ๆ เกิดขึ้นเพราะกรรมที่แต่ละตัวตนทำไว้ ฉะนั้น ตนเองจึงเป็น ผู้สร้างชาติคือความเกิดและความสุขทุกข์ของตนแก่ตนหรือผู้สร้างก็คือตนเอง แต่มิได้ไปสร้างใครอื่น เพราะใครอื่นนั้นๆนั้น ๆ ต่างก็เป็นผู้สร้างตนเองด้วยกันทั้งนั้น จึงไม่มีใครเป็นผู้สร้างให้ใคร และเมื่อผู้สร้างคือตนสร้างให้เกิดก็เป็นผู้สร้าง ให้ตายด้วย ทำไมผู้สร้างคือตนเองจึงสร้างชีวิตที่เป็นทุกข์เช่นนี้เล่า ปัญหา นี้ตอบว่า สร้างขึ้นเพราะความโง่ ไม่ฉลาด คือไม่รู้ว่าการสร้างนี้ก็คือสร้างทุกข์ขึ้น ถ้าเป็นผู้รู้ฉลาด เต็มที่ก็จะไม่สร้างสิ่งที่เกิดมาต้องตาย}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="69"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๖๙''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|การที่จะดูว่าอะไรดีหรือไม่ดี ต้องดูให้ยืดยาวออกไปถึงปลายทาง มิใช่ดูเพียงครึ่งๆกลางๆครึ่ง ๆ กลาง ๆ และไม่มัวพะวงติดอยู่กับสุข ทุกข์ หรือความสนุกไม่สนุกในระยะสั้นๆสั้น ๆ เพราะจะทำให้ก้าวหน้าไปถึงเบื้องปลายไม่สำเร็จคนเราซึ่งเดินทางไปไม่ถึงจุดหมายปลายทาง ต้องหล่นเรี่ยเสียหายอยู่ในระหว่างทางเป็นอันมาก เพราะเหตุต่างๆต่าง ๆ ดังเช่นที่เรียกว่า ชิงสุกก่อนห่ามบ้าง ถืออิสระเสรีบ้าง ฉะนั้นการหัดเป็นคนดีมีเหตุผล ที่ถูกต้องจึงเป็นเรื่องสำคัญสำหรับทุกๆทุก ๆ คน และจะเป็นคนมีเหตุผลก็เพราะส้มมาทิฏฐิ คือมีความเห็นถูกต้อง}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="70"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๗๐''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|บุญ แปลตามศัพท์ว่า ชำระ ฟอกล้าง ท่านแสดงว่าแบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ บุญที่เป็นส่วนของเหตุได้แก่ความดีต่างๆต่าง ๆ เรียกว่าเป็นบุญ เพราะเป็นเครื่องชำระฟอกล้างความชั่ว บุญส่วนที่เป็นผลคือความสุข บุญที่เป็นส่วนเหตุ คือ ความดีเกิดจากการกระทำถ้าอยู่เฉยๆเฉย ๆ ไม่ทำก็ไม่เกิดเป็นบุญขึ้น การทำบุญนี้เรียกว่าบุญกิริยา จำต้องมีวัตถุ คือ สิ่งเป็นที่ตั้ง และสิ่งเป็นที่ตั้งแห่งการทำบุญ ทางพุทธศาสนาแสดง โดยย่อ ๓ อย่างคือ บุญสำเร็จด้วยการบริจาคทาน บุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล บุญสำเร็จด้วยการเจริญภาวนา บุญคือความดีทั้ง ๓ ข้อ อันจะเป็นเครื่องชำระล้างความชั่ว ตลอดถึงรากเหง้าของความชั่ว<!--ความ . .หมายเหตุ ต้นฉบับสำเนาได้มาจากการคัดลอก ไม่ได้ใช้เลขไทย และข้อนี้ พิจารณาแล้วเห็นว่า คงจะพิมพ์ผิดคำว่า “ความ” เกินมา-->}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="71"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
บรรทัดที่ 397:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๗๒''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ความดีมีอยู่ที่ตัวเราเอง ซึ่งเป็นคนดีขึ้นเพราะทำดี เมื่ออยากดูหน้าตาของความดี ก็จงส่องกระจกดูหน้าตัวเราเอง จะรู้สึกภูมิใจ ซึ่งแฝงอยู่ในใบหน้า ในสายตาอันส่อเข้าไปถึงจิตใจที่ดี อาจมีความอิ่มใจในความดีของตนเป็นอย่างมาก แต่ถ้าตัวของเราเองทุกคน ทำไม่ดีต่างๆต่าง ๆ ก่อให้เกิดทุกข์ร้อนเสียหายแก่ใครๆใคร ๆ ก็จะเป็นที่ติฉินนินทา เพราะการทำนั้นก่อให้เกิดโทษ นี่คือความชั่วที่มีอยู่ที่ตัวเราเอง ซึ่งเป็นคนชั่วเพราะทำชั่ว เมื่ออยากดูหน้าตาของความชั่ว ก็จงส่องกระจกดูหน้าของตัวเราเอง จะรู้สึกถึงความอัปยศอดสู ความปิดบัง ซ่อนเร้นแฝงอยู่ในใบหน้า ในสายตา อันส่อเข้าไปถึงจิตใจที่ไม่ดี อาจมีความเศร้าสร้อยตำหนิตนเอง รังเกียจตนเอง}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="73"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
บรรทัดที่ 407:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๗๔''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|การให้ทาน มีความหมายอย่างกว้างว่าการสละบริจาคสิ่งของอะไรแก่ใครๆใคร ๆ หรือแก่องค์การ อะไรๆอะไร ๆ ด้วยการให้เปล่า มิใช่เป็นการซื้อขายแลกเปลี่ยนหรือให้เช่า และมีความหมายตลอดถึงการให้ กำลังกาย กำลังวาจา กำลังความคิด ความรู้ ช่วยในทางต่างๆต่าง ๆ สรุปแล้วมี 2 อย่าง คือ อามิสทาน ให้พัสดุสิ่งของอันเป็นกำลังทรัพย์ภายนอกต่างๆต่าง ๆ ธรรมทาน ให้ธรรมอย่างบอกศิลปวิทยาให้ บอกทางของความดีความชั่ว}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="75"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
บรรทัดที่ 422:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๗๗''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|เมื่อจักถือศีลก็ไม่ต้องไปที่ไหนอื่น ถือที่กายวาจาจิตนี้แหละ วัดก็ดี ป่าก็ดี เป็นอุปกรณ์ที่ให้ความ สะดวกแก่การถือเท่านั้น เพราะฉะนั้น เมื่อหวังจะถือให้สะดวก จึงสมควรไปวัด เข้าป่า หรือสถานที่อันสมควรอื่นๆอื่น ๆ พระพุทธเจ้าทรงแสดงศีลเป็นคำสอน ศีลคือปกติ กาย วาจา และจิต ถ้าปล่อยกาย วาจา จิตให้ผิดปกติแม้จะรับสิกขาบท ๕ ข้อก็ตาม ถ้าไม่ปฏิบัติตามสิกขาบทก็ถือศีลไม่ได้ เพราะสิกขาบท หยาบกว่าศีล เมื่อทำดีอย่างหยาบๆหยาบ ๆ ยังไม่ได้ แล้วจะทำดีอย่างละเอียดได้อย่างไร การรับศีลนั้นแม้จะเป็นการรับจากพระภิกษุ แต่ถ้าเป็นการรับเพียงด้วยปาก ใจไม่ได้คิดงดเว้นอะไรก็ไม่เกิดเป็นศีลได้ ตรงกันข้าม ถึงแม้มิได้รับศีลจากพระภิกษุแต่มีใจงดเว้นก็เกิดเป็นศีลได้}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="78"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๗๘''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ศีลธรรมสามารถระงับภัยต่างๆต่าง ๆ ได้แน่โดยเฉพาะภัยที่คนก่อให้เกิดแก่กันเอง ภัยที่คนก่อขึ้นนี้อาจทำให้ดินฟ้าอากาศแปรปรวนไปได้ด้วย เช่นเมื่อตัดไม้ทำลายป่าเสียหายกันโดยมาก ไม่ปลูกขึ้นทดแทนให้พอกันก็ทำให้เกิดความแห้งแล้ง เป็นต้น ฉะนั้นคนเรานี้เองเมื่อไม่มีศีลธรรมก็เป็นผู้ก่อภัยให้เกิดแก่กัน ตลอดถึงเป็นผู้ก่อความวิปริตแปรปรวนแห่งธรรมชาติได้ด้วยต่อเมื่อพากันตั้งใจอยู่ในศีลธรรม ความปกติสุขย่อมเกิดขึ้นตลอดถึงธรรมชาติดินฟ้าอากาศ ย่อมเป็นไปโดยปกติทั้งคนอาจปรับปรุงธรรมชาติให้เกิดประโยชน์ขึ้นได้ด้วย}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="79"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๗๙''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|พระพุทธเจ้าได้ตรัสสอนให้ทุกคนมีศีลและมีจิตใจงาม เพราะจะมีความสุขและอยู่ด้วยกันเป็นสุขจริงๆจริง ๆ ทุก ๆ ทุกๆคนต้องการสุขด้วยกันทั้งนั้นไม่มีใครปฏิเสธ แต่ทำไมไม่เดินในทางของความสุข ไปเดินในทางของความทุกข์แล้วก็ร่ำร้องว่าไม่มีความสุข}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="80"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
บรรทัดที่ 487:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๙๐''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|วิธีปลูกเมตตา คือ คิดตั้งปรารถนาให้เขาเป็นสุข และคิดตั้งปรารถนาให้เขาปราศจากทุกข์นั้นเป็นกรุณา ทีแรกท่านแนะนำให้คิดไปในตนเองก่อน แล้วให้คิดเจาะจงไปในคนที่รักนับถือ ซึ่งเป็นที่ใกล้ชิดสนิทใจอันจะหัดให้เกิดเมตตากรุณาได้ง่าย ครั้นแล้วก็หัดคิดไปในคนที่ห่างใจออกไปโดยลำดับ จนในคนที่ไม่ชอบกันเมื่อหัดคิดโดยเจาะจงได้สะดวก ก็หัดคิดแผ่ใจออกไปด้วยสรรพสัตว์ไม่มีประมาณทุกถ้วนหน้า เมื่อหัดคิดได้ดังกล่าว บ่อยๆบ่อย ๆ เมตตากรุณาจะเกิดขึ้นในจิตใจ}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="91"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๙๑''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|ชีวิตของทุกคนดำรงอยู่ได้ด้วยอาศัยเมตตากรุณาของผู้อื่นมาตั้งแต่เบื้องต้น ตั้งแต่บิดา มารดา ครู อาจารย์ พระมหากษัตริย์และรัฐบาล ญาติมิตรสหาย เป็นต้น ถึงไม่ถูกใครฆ่าก็ไม่อาจดำรงชีวิตอยู่ได้เลยเหมือนอย่าง มารดา บิดา ทิ้งทารกไว้เฉยๆเฉย ๆ ไม่ถนอมเลี้ยงดู ไม่ต้องทำอะไรทารกจะสิ้นชีวิตไปเอง ฉะนั้น เมื่อทุกๆทุก ๆ คนมีชีวิตเจริญมาได้ด้วยความเมตตากรุณาของท่าน ก็ควรปลูกเมตตากรุณาในชีวิตอื่นสืบต่อไป}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="92"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
บรรทัดที่ 502:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๙๓''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|พระพุทธเจ้าได้ทรงชนะ คือทรงชนะพระหฤทัยของพระองค์แล้ว ด้วยพระบารมีคือความดี ที่ทรงสร้างมาจนบริบูรณ์ ใครมีเรื่องจะต้องผจญใจก็ให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้า ผู้ทรงพิชิตมารดังกล่าวนี้เถิด จะสามารถชนะใจตนเอง และจะเอาชนะเหตุการณ์ต่างๆต่าง ๆ ได้ แต่ขอให้ระลึกถึงด้วยความตั้งใจจริงจนเกิดความสงบ แล้วจักเห็นหนทางชนะขึ้นเองอย่างน่าอัศจรรย์}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="94"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}
บรรทัดที่ 517:
|-
|{{Gap|2em}}[[File:A old white plate-Cetiyas Nirvana.png|24px|link=|alt=]] <code></code><sup>''คำสอนที่ ๙๖''</sup>
|{{Gap|2em}}{{Sq|โดยมากอุปสรรคต่างๆต่าง ๆ เป็นเรื่องหยุมหยิมเล็กน้อยไม่มีสาระ แต่มักจะรับเข้ายึดถือเป็นอารมณ์กวนใจให้เดือดร้อนไปเอง จนถึงให้ทอดทิ้งความดี ถ้าเป็นอย่างนี้ก็ไม่ใช่เป็นความฉลาด แต่เป็นความเขลาของเราเอง และทางพระพุทธศาสนาเรียกว่าเป็นผู้แพ้ ส่วนการชนะนั้น ก็มิได้ประสงค์ให้ชนะในทางก่อเวรแต่มุ่งให้เอาชนะตนเอง คือชนะจิตใจที่ใฝ่ชั่วของตน และเอาชนะเหตุการณ์แวดล้อมที่มาเป็นอุปสรรคแห่งความดีเพื่อที่จะรักษาและ เพิ่มพูนความดีของตนให้ดียิ่งๆยิ่ง ๆ ขึ้น}}<div><br></div>
|-
|colspan="2" scope="col" style="background: white; border: 6px solid transparent;" align="center" | <div id="97"/>{{fs|100%|[[#๐|''๑๐๐ คำสอน สมเด็จพระสังฆราช'']]}}