คำพูด

แก้ไข
  • รัฐตามคติพุทธเหมือนกับทรัพย์สินของ เอกชน ที่เป็นข้อตกลงร่วมกันของสมาชิกในสังคม เป็นแบบแผนซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาสังคม หากแต่ในมุมมองผู้วิจัยกลับมิได้เห็นด้วยพุทธเหมือนเป็นทรัพย์สินของเอกชน แต่พุทธศาสนานั้น เปรียบเหมือนเครื่องมือของชนชั้นนำในการกำหนดว่าพุทธศาสนาควรส่งเสริมคุณค่าใดแก่สังคม เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ปกครอง ประชาชนทั่วไปนั้นไม่มีสิทธิที่จะตีความพุทธศาสนาได้ตามอำเภอใจ เพื่อสนองตอบการมีชีวิตที่ดีตามพุทธศาสนาที่ตนเองเชื่อ[1]

อ้างอิง

แก้ไข
  1. วีระ สมบูรณ์, รัฐธรรมในอดีต (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ openbooks, 2008).