วิกิ พัฒนไท
|
วิกิตำรา ด้วยบัญชี วิกอิ พระหิรัญญ์ |
วิกิคำคม ด้วยบัญชี วิกอิ พัฒนไท |
วิกิซอร์ซ ด้วยบัญชี วิกอิ อุสภราช |
เริ่มทดสอบสิ่งที่ต้องการได้ที่ Wiki test |
เพื่อนร่วมงานไม่เห็นด้วยแทบจะทุกกรณี! ความไม่เหมาะกะธุรกิจธุรการของเราดังว่านี้ คงจะมากไม่ใช่เล่น!
ไม่ใช่ตนไม่สู้มีกุศลเจตนา เพราะว่าให้ร้อนรน(อยากได้ดี)ใจ และให้อยู่ในที่หวั่นไหวใจแล้วก็มาก ก็ไม่ให้ได้ถึงแก่การณ์ได้กระทำพอเหมาะใจที่จะดีพอ แก่ที่เพื่อนร่วมงานจะชอบเสียที
ชื่อจริงๆนั้นจะมีประโยชน์อะไร หากมีสาระประโยชน์เพื่อลวงก่อนๆจะมาเป็นสาระบรรยาย ถ้าชื่อบัญญัติทางนามปากกาแห่งบัญชีนั้น มาแบบผิดๆ ทำตามใจชอบ และขาดความหมายที่เป็นคุณค่าแท้ เมื่อเข้าสู่อุปสงค์ อุปเท่ห์แล้ว ก็คงมิควรได้ผล เพราะไม่ไปถึงที่ๆเป็นธรรมะ ที่ๆเป็นองค์ลึกเร้นสุดแห่งอักขระภาวะ ซึ่งต้องเป็นจริงตามธรรม
เพราะที่ใครจะทำได้ หรือได้ทำดีแล้วนั้น เป็นที่คนทำ ไม่ใช่ Robot? มาเป็นต้นธรรม ดูแล้วหากไม่ลวงๆ หลบๆ หาใช้ชื่อ เป็นที่ปลิ้นกระทงลอยอ่าวขัดด้วยเฉโกเอากะภาษาอื่นเป็นทางเลี่ยง เช่นนั้นแล้วก็คงไม่ดีตามสมอ้างอะไรกับนัยที่จะเขียนให้เป็นร้ายเป็นดีนั้นๆ
อีกสาเหตุประการหนึ่งที่สำคัญ อาจจะเป็นเพราะว่า กลัวคนที่เขาใช้นามจริงๆชื่อจริงๆนั้น จะเข้าที่ได้สมประโยชน์แล้วเอาไป(มีชื่อที่เขียนแล้วเป็นธรรม ไม่ต้องใช้อุปเท่ห์ เมื่อกำหนดบัญญัติในนามปุคคละนั้น ผู้นั้นจึงได้เป็นเจ้าของผลงาน (หมายถึงคุณนามอันอาจเป็นที่ตั้งแห่งเกียรติคุณนั้นๆ)). เมื่อกลัว!คนที่เขาจะใช้นามจริงชื่อจริงเข้ามาเอาไป ที่จะให้ว่าเสรีหรือไม่เสรีนั้นก็พลันมีวิธี ไม่ให้เสรีไว้ก่อน หากผู้ที่เข้ามาไม่อยู่ในฐานของความเป็นหุ่น (Bot (เพราะคนที่เข้ามาเขียนมักไม่พ้นถูกโอ้โลมและลวงด้วยบรรยากาศให้ต้องใช้ชื่อใช้นามหุ่น! จากกิริยาวิเศษซึ่งคุณนามที่ต้องเป็น หุ่น! ของสารบบโปรแกรมขยะพาให้ต้องทำ)) ซึ่งหุ่น!เมื่อตั้งแล้ว ไม่ว่าจะกี่ตั้งก็ต้องเป็นที่น่ารังเกียจ และถึงจะเป็นสรีรยนต์ที่ดีที่กล่าวได้ และแสดงน่ารัก แต่ที่สุดก็ไม่พ้นต้องน่ารังเกียจ (สู้ถึงเป็นคนแล้วจากนามกำหนดที่เป็นหุ่น แต่ก็ย่อมน้อยนักที่จะรับผิดรับชอบต่อคุณค่าทางใจ (เพราะมีสคริปต์หุ่น)) เพราะได้เป็นเพียงแต่ข่ายแห่งโลกีย์สมบัติติดตามประกอบ
ในบทหนึ่งที่พระโลกนาถผู้อังคีรส กล่าวเป็นบันทึกมา(พระไตรปิฎก) ว่า นามนั้น หรือชื่อนั้นเป็นศัพท์ทุกข์ แต่ต้องตามดูประกอบวิบากเสียก่อน ดี-ร้าย โดยสัมภวะแล้ว ในที่กรรมอย่างเดียวซึ่งเป็นแต่ตัวศัพท์นั้นไม่ใช่กำหนดทุกข์หรืออบายให้โดยสถานเดียว(เพราะเป็นแต่ศัพท์ทุกข์) ทีนี้ต้องให้รู้ดูมาจากนิรุตติปถสูตรด้วย ว่า แต่ล้วนแล้วทั้งปวงศัพท์ที่มีมาแล้ว เป็นต้องกำหนดทั้งนั้น ทั้งสิ้นว่า คำในธรรมที่มีหมายเลขมีหมายบทให้ไปในทางที่ดีหรือแง่ดี ก็ต้องให้อุปเท่ห์ว่าเป็นดีแท้ แก่คำนั้นๆก่อน ไม่ใช่กำหนดตามวิบากอันเป็นทุกขะศัพท์ไปซะทั้งหมดซึ่งเป็นตามเหตุการณ์ที่ไม่ดีในปัจจุบันของตนทำให้เป็น เพราะถึงซึ่งแม้ว่าดีแท้ หรือไม่แท้นั้นจะต้องไม่เป็นกำหนดได้ เพราะเป็นแต่ประโยชน์แก่โลก
เมื่อดูตามที่เป็นจริงที่จะไม่ฝากอะไรไว้แก่โลก อันนี้ คือ การหาทางสบายทางธรรม เป็น มนุรักขะธัม เม. ฯ เช่นเมื่อกล่าวว่า สัพเพสุ ภูเตสุ หากใจรับว่า สัพพะภูเตสุ อกรณัง ก็จึงวาง แต่หากใจตอบว่า สัพเพ โลเก อนิจจสัญญา จ อย่างนี้จึงพอประกอบด้วยบทต่างๆแก่โลก ก็ค่อยประคองค่อยให้ประกอบในที่สุขบ้าง ทุกข์บ้างนั่นแล. ฯเปฯ ว่า เป็นที่สบาย ทางเรียน ทางเขียน ทางอ่าน เมื่อถึงที่ดีมั่นคงไม่คลอนแคลน ก็จะได้เป็นคันถรจนาจารย์ได้ต่อไป